วันจันทร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2557

การแก้โจทย์ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ ชนิดตัวแปร และหลักดำเนินการทางคณิตศาสตร์


การแก้โจทย์ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์


1.ระบุสิ่งที่โจทย์ต้องการ 
2.รูปแบบผลลัพธ์ 
3.ข้อมูลนำเข้า 
4.ประกาศค่าตัวแปล
5.ประมวลผล
          - เริ่ม
          - ประกาศค่าตัวแปล
          - กำหนดให้ เป็น 0
          - Input (รับข้อมูลเข้า)
          - ประมวลผล
          - แสดงผลลัพธ์
          - จบ


ขนิดตัวแปล

Integer  จำนวนเต็มบวก และจำนวนเต็มลบ เลขฐานสิบ ฐานแปด และฐานสิบหก

Float   เก็บจำนวนจริงทั้งบวกและลบ ทั้งมีทศนิยม และไม่มีทศนิยม

String  เก็บจำนวนตัวเลข และ ข้อความ

Array   เก็บข้อมูลทเป็นชุด หรือ อาร์เรย์

Object  เก็บข้อมูลในลักษณะออปเจ็กต์เพื่อการเรียกใช้เป็น Class Object หรือ Function

Type juggling  เก็บข้อมูลในลักษณะเฉพราะหรือผู้ที่ใช้เพิ่มเข้ามา


หลักดำเนินการทางคณิตศาสตร์
การดำเนินการทางคณิตศาสตร์ต้องดำเนินการตามลำดับหัวข้อดังต่อไปนี้ในนิพจน์คณิตศาสตร์ จากซ้ายไปขวา
ลำดับการดำเนินการ หรือวิธีการดำเนินการทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และภาษาโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ แสดงดังนี้ คือ
  1. ดำเนินการในวงเล็บก่อน จากซ้ายไปขวา
  2. เลขยกกำลัง และ กรณฑ์ จากซ้ายไปขวา
  3. การคูณ และ หาร จากซ้ายไปขวา
  4. การบวก และ การลบ จากซ้ายไปขวา

วงเล็บและเลขยกกำลัง

      เมื่อพบวงเล็บหรือเลขยกกำลังในนิพจน์ ให้ดำเนินการคำนวณนิพจน์ย่อยที่อยู่ในวงเล็บหรือคำนวณเลขยกกำลังก่อน

ตัวอย่าง:
(2 + 3) * (4 -1) + 23
(2 + 3) * (4 -1) + 23
5 * (4 -1) + 23
5 * (4 -1) + 23
5 * 3 + 23
5 * 3 + 8

การคูณและการหาร

      คำนวณผลคูณและผลหารในนิพจน์ พึงระวังว่าการคูณไม่ได้จำเป็นต้องทำก่อนการหาร การดำเนินการที่ถูกต้องเมื่อพบเครื่องหมายคูณและเครื่องหมายหารต่อเนื่องกันคือต้องทำจากซ้ายไปขวาเสมอ

ตัวอย่าง : 5 * 4 - 9 / 3
(5 * 4) - (9 / 3)
20 - 3
17

การบวกและการลบ

     ลำดับสุดท้ายคือการบวกและการลบ เช่นเดียวกับการคูณและการหาร การบวกและการลบทำจากซ้ายไปขวาเสมอ

ตัวอย่างเมื่อคำนวณตามกฎทั้งหมด

       (1 + 8) * (4 - 1) + 16 / 23

(1 + 8) * (4 - 1) + 16 / 23
9 * (4 - 1) + 16 / 23
9 * 3 + 16 / 23
9 * 3 + 16 / 8
9 * 3 + 16 / 8
27 + 16 / 8
27 + 2
29

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น